Giffarine เครื่องดื่มน้ําสมุนไพร 10039 ชนิด ส่วนประกอบสําคัญ มะขามป้อม, สมอไทย, ดอกเก๊กฮวย, บัวบก, เตยหอม, มะตูม, หม่อน, หญ้าลิ้นงู, หญ้าคา, รากบัวหลวง, เสกตี่, หล่อฮังก้วยสกัด, เก๋ากี้, เถาวัลย์เปรียง, พลูคาว, ตังเซียม, ตังกุย, เห็ดหลินจือสกัด, เห็ดหูหนูขาว, ชะเอมเทศ, ดอกอัญชัน, สมอเทศ, กระวาน, อบเชยจีน, จันทน์เทศ, กานพลู, ผักชีล้อม, ดอกคําฝอย, ปักคี้, เซียนจา, โสมเกาหลีสกัด, ถังเช่า, กระเจี๊ยบแดง, เทียนเกล็ดหอย, แปะตุ๊ก, สมอภิเภก, สะระแหน่, ขิง, กระชายดํา
วิธีใช้ : วิธีรับประทาน วันละ 1 ครั้ง ครั้งละ 30 ซีซี ก่อนอาหาร ปัญจะ ภูตะ กิฟฟารีน ชีวิตปัจจุบันของคนในยุคนี้ พบว่าเป็นโรควิถีชีวิต Life Style Diseases ซึ่งเกิดจากการใช้ชีวิตที่ไม่สมดุลในเรื่องการกิน การอยู่ เช่น รับประทานอาหารผิดส่วน ทั้งในเรื่องคุณภาพและปริมาณ ได้รับสารพิษ สารก่อมะเร็งจากมลภาวะต่างๆ ความเครียด ขาดการออกกําลังกายที่เหมาะสม ทําให้ร่างกายต่อสู้รับโรคร้ายไม่ได้ อาการเหล่านี้เกิดจากความไม่สมดุลของร่างกาย ท้องอืด ท้องเฟ้อ อาหารไม่ย่อย ท้องผูก ท้องเสีย เกิดจากความไม่สมดุลในระบบทางเดินอาหาร ภูมิแพ้ น้ํามูก ไอ มีเสมหะ มีกลิ่นปาก ฟันผุ เกิดจากความไม่สมดุลในระบบทางเดินหายใจ ปวดประจําเดือน ประจําเดือนมาไม่ปกติ ช่องคลอดแห้ง เกิดจากความไม่สมดุลในระบบฮอร์โมน อ้วน น้ําหนักไม่ลด โรคเบาหวาน เกิดจากความไม่สมดุลในระบบต่อมไร้ท่อ อ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย นอนไม่หลับ เกิดจากความไม่สมดุลในระบบประสาท-สมอง ความดันโลหิตสูง ไขมันในหลอดเลือดสูง หัวใจขาดเลือด อัมพฤกษ์ อัมพาต เกิดจากความไม่สมดุลในระบบหลอดเลือดและหัวใจ ตําราแพทย์แผนจีน ไทย และอินเดีย ต่างให้ความสําคัญในเรื่องของสมดุลร่างกาย ว่าเป็นบ่อเกิดสําคัญของการมีสุขภาพที่ดี โดยแนะนําให้มีการใช้สมุนไพรมาช่วยดูแลในการปรับสมดุลของร่างกาย สมุนไพรที่ช่วยปรับสมดุลของร่างกายมีอะไรบ้าง มาดูกันเลยค่ะ สมุนไพรที่มีฤทธิ์เย็น และปานกลาง พลังหยิน สมุนไพรที่มีฤทธิ์เย็น) มะขามป้อม สมอไทย ดอกเก็กฮวย บัวบก เตยหอม มะตุม หม่อน หญ้าลิ้นงู รากหญ้าคา บัวหลวง เสกตี่ หล่อฮั้งก้วย เถาวัลย์เปรียง พลูคาว พลังหยิน สมุนไพรที่มีฤทธิ์เย็นกลาง) ตังเซียม เก๋ากี้ เห็ดหลินจือสกัด เห็ดหูหนูขาว ชะเอมเทศ ดอกอัญชัญ พลังหยิน ช่วยอะไรได้บ้าง ช่วยในการปลอบประโลมอวัยวะที่ทํางานหนักจนเกินไป หรือเกิดการอักเสบ จนทําให้เกิดโรคต่างๆ เช่น มะเร็ง ความดันโลหิตสูง ตับอักเสบ ข้ออักเสบ ภูมิแพ้ ลําไส้แปรปรวน เป็นต้น ให้กลับมาทําหน้าที่ได้อย่างสมดุลอีกครั้ง สมุนไพรที่มีฤทธิ์อุ่น และร้อน พลังหยาง สมุนไพรที่มีฤทธิ์อุ่น) สมอเทศ กระวานเทศ อบเชยเทศ จันทร์เทศ กานพลู ผักชีล้อม ดอกคําฝอย ตังกุย ปักคี้ เซียนจา โสมเกาหลีสกัด ถั่งเช่า กระเจี๊ยบแดง พลังหยาง สมุนไพรที่มีฤทธิ์ร้อน เทียนเกล็ดหอย สมอภิเภก สะระแหน่ ขิง กระชายดํา แป๊ะดุก พลังหยาง ช่วยอะไรได้บ้าง ช่วยในการกระตุ้นอวัยวะที่อ่อนแรง อ่อนล้า หมดพลัง จนบางครั้งเกิดโรคต่างๆ เช่น ความดันต่ํา ภูมิอ่อนแอ ติดเชื้อง่าย ไตอ่อนแอ เป็นต้น ให้กลับมากระฉับกระเฉง ทํางานได้อย่างเต็มประสิทธิภาพตามปกติ