ตาข่ายร่อนทราย นมข้น แบบหลอด กล้าปาล์ม นํามาแปรรูปในรูปแบบของน้ํามันพืชที่ใช้ในการประกอบอาหาร ใช้เป็นวัตถุดิบในอุตสาหกรรมอาหารต่างๆ เช่น ขนมขบเคี้ยว บะหมี่กึ่งสําเร็จรูป นมข้นหวาน ครีมและเนยเทียม เป็นวัตถุดิบในการผลิตพลังงานทดแทน ไบโอดีเซล เป็นส่วนผสมเพื่อช่วยลดการใช้น้ํามันดีเซล เพิ่มความมั่นคงทางด้านพลังงานให้กับประเทศ ช่วยลดปัญหาผลกระทบทางด้านสิ่งแวดล้อม สามารถแปรรูปเป็น สบู่ ผงซักฟอก เครื่องสําอาง ผลิตภัณฑ์เคมีภัณฑ์ต่างๆ และอาหารสัตว์ ด้วย ใบมาบดเป็นอาหารสัตว์ กะลาปาล์มเป็นวัตถุดิบเชื้อเพลิง ทะลายปาล์มใช้เพาะเห็ด การปลูกปาล์มยังช่วยในการดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ในการช่วยลดภาวะโลกร้อน ปาล์มน้ํามัน เป็นพืชตระกูลปาล์มลักษณะลําต้นเดี่ยว ขนาดลําต้นประมาณ 12-20 นิ้ว เมื่ออายุประมาณ 1-3 ปี ลําต้นจะถูกหุ้มด้วยโคนกาบใบ แต่เมื่ออายุมากขึ้นโคนกาบใบจะหลุดร่วงเห็นลําต้นชัดเจน ผิวของลําต้นคล้ายๆ ต้นตาล ลักษณะใบเป็นรูปก้างปลา โคนกาบใบจะมีลักษณะเป็นซี่ คล้ายหนามแต่ไม่คมมาก เมื่อไปถึงกลางใบหนามดังกล่าวจะพัฒนาเป็นใบ การออกดอกเป็นพืชที่แยกเพศ คือต้นที่เป็นเพศผู้ก็จะให้เกสรตัวผู้อย่างเดียว ต้นที่ให้เกสรตัวเมียจึงจะติดผล ลักษณะผลเป็นทะลายผลจะเกาะติดกันแน่นจนไม่สามารถสอดนิ้วมือเข้าไปที่ก้านผลได้ เวลาเก็บผลปาล์มจึงต้องใช้มีดงอ(มีดขอ)เกี่ยวที่โคนทะลายแล้วดึงให้ขาด ก่อนที่จะตัดทะลายปาล์มต้องตัดทางปาล์มก่อนเพราะผลปาล์มจะตั้งอยู่บนทางปาล์ม กระบวนการตัดทาง(ใบ)ปาล์มและตัดเอาทะลายปาล์มลง เรียกรวมๆ ว่า แทงปาล์ม ปาล์มน้ํามันจัดเป็น พืชเศรษฐกิจ มีถิ่นกําเนิดอยู่ในทวีปแอฟริกา เป็นพืชที่ให้ผลผลิต น้ํามันต่อหน่วยพื้นที่สูงกว่าพืชน้ํามันทุกชนิด ในประเทศไทยมีการปลูกทั้งทางภาคใต้และภาคตะวันออก พันธุ์ปาล์มน้ํามันที่ส่งเสริมให้เกษตรกรปลูก เป็นปาล์มน้ํามันลูกผสมเทเนอรา โดยเฉพาะที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ช่วงปี 2547-2550 มีการส่งเสริมการปลูกปาล์มน้ํามันในพื้นที่นาร้าง โดยกรมพัฒนาที่ดิน มีการขุดร่องให้ฟรี ให้พันธุ์และปุ๋ย โดยให้เหตุผลในการส่งเสริมการปลูกเนื่องจากเป็นปาล์มที่ให้นํามันใช้ได้ทั้งการบริโภคและใช้เป็นไบโอดีเซลได้ ลักษณะของสายพันธุ์เทเนอรา โกลด์เด้นเทเนอร่า ปาล์มน้ํามันสัญชาติไทย พันธุ์ทนแล้ง ผลผลิตสูง 5 ตัน/ไร่/ปี 1 พันธุ์เทเนอรา จะมีผลปาล์มที่เป็นกะลามีความหนาที่ 0.5 4 มม 2 ผลปาล์มจะมีวงเส้นประสีดําอยู่รอบกะลา 3 มีชั้นเปลือกนอก ความหนาประมาณ 60-90 ของผลปาล์ม 4 พันธุ์เทเนอราจะเป็นพันธุ์ทาง Heterozygous Sh Sh- 5 เกิดจากการผสมข้ามพันธุ์ระหว่างดูราและพิสิเฟอราจึงให้ผลผลิตสม่ําเสมอ 6 ให้ผลผลิตมากกว่า 5 ตันต่อไร่ต่อปี ในสภาพแวดล้อมเหมาะสมเมื่ออายุ 8 ปี) 7 เนื้อหนา กะลาบาง ให้เปอร์เซ็นต์น้ํามันสูง 26-28% 8 ต้นเตี้ย สูงช้าเก็บเกี่ยวสะดวก 9 ทนแล้งได้นานกว่า 90 วันและยังให้ผลผลิตได้ต่อเนื่อง 10 สูงช้า หางสั้น 1 1 ทะลายดก น้ําหนักดี เฉลี่ย 5 ตัน/ไร่/ปี 1 2 อึด ทนแล้ง ปลูกได้ทุกพื้นที่ ได้ผลจริง 1 3 หนามบนช่อทะลายสั้น 1 4 ผลปาล์มสุกรอบชั้นนอกหลุดร่วงช้าและให้ผลปาล์มชั้นนอกสุกสม่ําเสมอ ซึ่งมีผลทําให้เปอร์เซ็นต์น้ํามันสูงขึ้น 1 5 พัฒนาและปรับปรุงพันธุ์ในประเทศไทยตามมาตรฐานสากล นํามาแปรรูปในรูปแบบของน้ํามันพืชที่ใช้ในการประกอบอาหาร ใช้เป็นวัตถุดิบในอุตสาหกรรมอาหารต่างๆ เช่น ขนมขบเคี้ยว บะหมี่กึ่งสําเร็จรูป นมข้นหวาน ครีมและเนยเทียม เป็นวัตถุดิบในการผลิตพลังงานทดแทน ไบโอดีเซล เป็นส่วนผสมเพื่อช่วยลดการใช้น้ํามันดีเซล เพิ่มความมั่นคงทางด้านพลังงานให้กับประเทศ ช่วยลดปัญหาผลกระทบทางด้านสิ่งแวดล้อม สามารถแปรรูปเป็น สบู่ ผงซักฟอก เครื่องสําอาง ผลิตภัณฑ์เคมีภัณฑ์ต่างๆ และอาหารสัตว์ ด้วย ใบมาบดเป็นอาหารสัตว์ กะลาปาล์มเป็นวัตถุดิบเชื้อเพลิง ทะลายปาล์มใช้เพาะเห็ด การปลูกปาล์มยังช่วยในการดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ในการช่วยลดภาวะโลกร้อน ต้นพันธุ์ปาล์มน้ํามัน โกลด์เด้นเทเนอร่า GTปาล์มน้ํามันลูกผสม(DxP Oil Palm สายพันธุ์เทเนอรา Tenera พืชเศรษฐกิจ พืชน้ํามัน สายพันธุ์ดูรา ไบโอดีเซล น้ํามันปาล์ม พืชพลังงานทดแทน เมล็ดพันธุ์ปาล์มน้ํามัน ปาล์ม เมล็ดพันธุ์